svasdssvasds
เนชั่นทีวี

ทั่วไทย

เปิด 5 อันดับพื้นที่ ค่าฝุ่น PM 2.5 วันนี้ สูงสุดในกรุงเทพมหานคร

เปิด 5 อันดับพื้นที่ ค่าฝุ่น PM 2.5 วันนี้ สูงสุดในกรุงเทพมหานคร อากาศไม่ดี หายใจเข้ามีแต่ฝุ่น กระทบสุขภาพประชาชน ฝุ่นพิษแรงทุกวัน เช้าวันทำงาน อากาศหนาว ใส่หน้ากากป้องกัน

7 มกราคม 2568 ค่าฝุ่นวันนี้ อากาศไม่ดี หายใจเข้ามีแต่ฝุ่น กระทบสุขภาพประชาชน ฝุ่นพิษแรงทุกวัน สภาพอากาศวันนี้ ระดับสีส้ม หลายพื้นที่ กทม. 

 

 

เปิด 5 อันดับพื้นที่ ค่าฝุ่น PM 2.5 วันนี้ สูงสุดในกรุงเทพมหานคร

"ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร" รายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ในกรุงเทพมหานคร ประจำวันที่ 7 มกราคม 2568 เวลา 07:00 น.

 

 

เปิด 5 อันดับพื้นที่ ค่าฝุ่น PM 2.5 วันนี้ สูงสุดในกรุงเทพมหานคร

ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพมหานคร 49.3 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.)

 

 

เปิด 5 อันดับพื้นที่ ค่าฝุ่น PM 2.5 วันนี้ สูงสุดในกรุงเทพมหานคร

 

 

เปิด 5 อันดับพื้นที่ ค่าฝุ่น PM 2.5 วันนี้ สูงสุดในกรุงเทพมหานคร

 

 

เปิด 5 อันดับ ของค่าฝุ่น PM2.5 เขตสูงสุดในกรุงเทพมหานคร

 

 

1.เขตหนองแขม 64.7 มคก./ลบ.ม.
2.เขตภาษีเจริญ 58.5 มคก./ลบ.ม.
3.เขตคลองสามวา 58.3 มคก./ลบ.ม.
4.เขตตลิ่งชัน 57.5 มคก./ลบ.ม.
5.เขตธนบุรี 57 มคก./ลบ.ม.

 


อัปเดตคุณภาพอากาศ ค่าฝุ่นทั่วกรุงเทพมหานคร ประจำวันที่ 7 ม.ค. 68

 

 

เปิด 5 อันดับพื้นที่ ค่าฝุ่น PM 2.5 วันนี้ สูงสุดในกรุงเทพมหานคร

 


กรุงเทพเหนือ

43.8 - 53.7 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

 


กรุงเทพตะวันออก

45.3 - 58.3 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

 


กรุงเทพกลาง

41 - 53.4 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

 


กรุงเทพใต้

38.2 - 52.8 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

 


กรุงธนเหนือ

47 - 57.5 มคก./ลบ.ม.
ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ

 


กรุงธนใต้

49.3 - 64.7 มคก./ลบ.ม.


ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
ฝุ่นละอองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

ภาพรวม : คุณภาพอากาศอยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
ข้อแนะนำสุขภาพ

 

คุณภาพอากาศระดับสีส้ม: เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
ประชาชนทั่วไป

 

ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร


จำกัดระยะเวลาในการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก
ควรสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ไอ หายใจลำบาก ระคายเคืองตา
ประชาชนกลุ่มเสี่ยง

 

ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร


เลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์